Ammara.Com - ภาวะโลกร้อน
   
  หน้าหลัก
  ติดต่อเรา
  สมุดเยี่ยม
  สาวะถีพิทยาสรรพ์
  ทุนการศึกษา
  ยูโร2008
  ครูสวัสดิ์ดอทคอม
  ศึกษาธิการ
  ไทยรัฐ
  สพท.ขก
  สพทขอนแก่นเขต1
  http://kkzone1.go.th
  google
  ภาษาไทย
  ภาษาอังกฤษ
  สังคมศึกษา
  บทความสุกัญญา
  ศัพท์อังกฤษแสนสนุก
  sanook
  สมาชิกในกลุ่ม
  ธนาคารสถาบันการเงิน
  กีฬา
  สพท.ขอนแก่น
  สพท.ขอนแก่นเขต1
  Title of your new page
  สพท.ขก1
  สพท.ขก..1
  โอลิมปิก 2008
  หมอดู
  มหาหมอดู
  ฟังเพลง
  เกมส์แต่งตัว
  เกมส์
  ท่องเที่ยว
  บันเทิงนันทนาการ
  ฮอทเมลดอทคอม
  เรื่องน่าคิดของไอสไตล์
  จิตวิทยาน่ารู้
  วิทยาศาสตร์น่ารู้
  ภาวะโลกร้อน
  สุขภาพดี
  วิทยาศาสตร์
  มนฤดีไทยรัฐ
  อมราไทยรัฐ
  ทาโร่เตรียมฟิตกับข้อสอบ
  eduzones
  สุกัญญา ไทยรัฐ
  อมราดรพาเหลา ไทยรัฐ
  บทความอมรา
  บทความ ต่าย
  มนฤดี..ไทยรัฐ
  ศรัญญาบทความ
  ศรัญญาไทยรัฐ
  บทความสกัญญา
  บทความ เฉลิมเกียรติ
  บทความอนุพงษ์

ภาวะโลกร้อน (Global Warming)

      ภาวะโลกร้อน (Global Warming) หรือ ภาวะภูมิอากาศเปลี่ยนแปลง (Climate Change) เป็นปัญหาใหญ่ของโลกเราในปัจจุบัน สังเกตได้จาก อุณหภูมิ ของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุหลักของปัญหานี้ มาจาก ก๊าซเรือนกระจก ค่ะ (Greenhouse gases)

ปรากฏการณ์เรือนกระจก มีความสำคัญกับโลก เพราะก๊าซจำพวก คาร์บอนไดออกไซด์ หรือ มีเทน จะกักเก็บความร้อนบางส่วนไว้ในในโลก ไม่ให้สะท้อนกลับสู่บรรยากาศทั้งหมด มิฉะนั้น โลกจะกลายเป็นแบบดวงจันทร์ ที่ตอนกลางคืนหนาวจัด (และ ตอนกลางวันร้อนจัด เพราะไม่มีบรรยากาศ กรองพลังงาน จาก ดวงอาทิตย์) ซึ่งการทำให้โลกอุ่นขึ้นเช่นนี้ คล้ายกับหลักการของ เรือนกระจก (ที่ใช้ปลูกพืช) จึงเรียกว่า ปรากฏการณ์เรือนกระจก (Greenhouse Effect) ค่ะ

แต่การเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องของ CO2 ที่ออกมาจาก โรงงานอุตสาหกรรม รถยนต์ หรือการกระทำใดๆที่เผา เชื้อเพลิงฟอสซิล (เช่น ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ หรือ สารประกอบไฮโดรคาร์บอน ) ส่งผลให้ระดับปริมาณ CO2 ในปัจจุบันสูงเกิน 300 ppm (300 ส่วน ใน ล้านส่วน) เป็นครั้งแรกในรอบกว่า 6 แสนปี

ซึ่ง คาร์บอนไดออกไซด์ ที่มากขึ้นนี้ ได้เพิ่มการกักเก็บความร้อนไว้ในโลกของเรามากขึ้นเรื่อยๆ จนเกิดเป็น ภาวะโลกร้อน ดังเช่นปัจจุบัน

ภาวะโลกร้อนภายในช่วง 10 ปีนับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2533 มานี้ ได้มีการบันทึกถึงปีที่มีอากาศร้อนที่สุดถึง 3 ปีคือ ปี พ.ศ. 2533, พ.ศ.2538 และปี พ.ศ. 2540 แม้ว่าพยากรณ์การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ยังมีความไม่แน่นอนหลายประการ แต่การถกเถียงวิพากษ์วิจารณ์ได้เปลี่ยนหัวข้อจากคำถามที่ว่า "โลกกำลังร้อนขึ้นจริงหรือ" เป็น "ผลกระทบจากการที่โลกร้อนขึ้นจะส่งผลร้ายแรง และต่อเนื่องต่อสิ่งที่มีชีวิตในโลกอย่างไร" ดังนั้น ยิ่งเราประวิงเวลาลงมือกระทำการแก้ไขออกไปเพียงใด ผลกระทบที่เกิดขึ้นก็จะยิ่งร้ายแรงมากขึ้นเท่านั้น และบุคคลที่จะได้รับผลกระทบมากที่สุดก็คือ ลูกหลานของพวกเราเอง

   

   
Today, there have been 2 visitors (6 hits) on this page!
This website was created for free with Own-Free-Website.com. Would you also like to have your own website?
Sign up for free